Please use this identifier to cite or link to this item:
http://localhost/jspui/handle/123456789/64
Title: | A STUDY OF TEAMWORK OF TEACHERS IN EDUCATIONAL INSTITUTIONS UNDER LOCAL GOVERNMENT ORGANIZATION LOEI PROVINCE การศึกษาการทำงานเป็นทีมของครูในสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดเลย |
Authors: | NIPAPORN HOMEPRASERT นิภาพร โฮมประเสริฐ Boonchuay Sirikase บุญช่วย ศิริเกษ Mahamakut Buddhist University Boonchuay Sirikase บุญช่วย ศิริเกษ boonchuay.sir@mbu.ac.th boonchuay.sir@mbu.ac.th |
Keywords: | การทำงานเป็นทีม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น Team work Local Administrative Organization |
Issue Date: | 14 |
Publisher: | Mahamakut Buddhist University |
Abstract: | ABSTRACT This research aimed to: 1. Study the level of teamwork among teachers in educational institutions under the Local Administrative Organization of Loei Province. 2. Compare the level of teamwork among teachers classified by position, educational qualifications, and work experience. 3. Develop guidelines to enhance teamwork among teachers in these educational institutions. The sample group consisted of 294 participants, including 32 school administrators and 262 teachers. The sample size was determined using the Krejcie and Morgan sample size table and selected through stratified random sampling. The research instrument was a 5-point Likert scale questionnaire covering 8 aspects with a total of 52 items. The discrimination values ranged from 0.729 to 0.949, and the reliability coefficient was 0.930. The data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test, and one-way analysis of variance (ANOVA). Pairwise comparisons were conducted using Scheffé’s method.The research found that:1. The results of the study on the level of teamwork among teachers in educational institutions under the Local Administrative Organization of Loei Province showed that the overall behavior related to teamwork was at a high level Mean 4.03 , S.D. 0.31. When considering each aspect, all areas were at a high level, with the first three areas ranked from highest to lowest in terms of mean scores: goal-setting Mean 4.35, trust Mean 4.23, and appropriate leadership or followership Mean 4.21, while interpersonal relationships were at the lowest level Mean 3.67.1. The results of the study on the level of teamwork among teachers in educational institutions under the Local Administrative Organization of Loei Province showed that the overall behavior related to teamwork was at a high level Mean 4.03 When considering each aspect, all areas were at a high level, with the first three areas ranked from highest to lowest in terms of mean scores: goal-setting Mean 4.35, trust Mean 4.23, and appropriate leadership or followership Mean 4.21, while interpersonal relationships were at the lowest level Mean 3.67.2) The results of the comparison of teamwork among teachers in educational institutions under the Local Administrative Organization of Loei Province, classified by position, revealed no statistically significant differences overall or in any specific aspect. Similarly, when comparing by educational qualifications, no significant differences were found. However, when comparing by work experience, it was found that in the aspect of interpersonal relationships, there were statistically significant differences at the .05 level among teachers with less than 5 years, 5–10 years, and more than 10 years of experience. Specifically, those with less than 5 years of experience exhibited lower levels of teamwork than those with more than 10 years of experience.3. The Results of Developing Teamwork Guidelines for Teachers in Schools Under the Local Administrative Organizations in Loei Province Consist of 8 Components and 24 guidelines as follows: 1) Goal setting – 3 guidelines 2) Appropriate leadership and followership roles – 3 guidelines 3) Cooperation and participation – 3 guidelines 4) Constructive communication and positive external relationships – 3 guidelines 5) Creating a positive team atmosphere – 3 guidelines 6) Defining roles and responsibilities – 3 guidelines 7) Trust – 3 guidelines 8) Good interpersonal relationships – 3 guidelines บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาระดับการทำงานเป็นทีมของครูในสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดเลย 2. เพื่อเปรียบเทียบระดับการทำงานเป็นทีมของครูในสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดเลย โดยจําแนกตามตำแหน่งหน้าที่ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงาน 3. เพื่อพัฒนาแนวทางการทำงานเป็นทีมของครูในสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดเลย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 32 คน และครูผู้สอน จำนวน 262 คน รวมเป็น 294 คน การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเทียบกลุ่มตัวอย่างของเครจซี่และมอร์แกน และใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้นตามสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 8 ด้าน 52 ข้อ ได้ค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.729 - 0.949 และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.930 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) ค่าเอฟ (F-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One - way ANOVA) ทำการทดสอบด้วยสถิติทดสอบเอฟ และตรวจสอบความแตกต่างเป็นรายคู่โดยวิธีการตรวจสอบความแตกต่างของเชฟเฟ่ (Scheffe') ผลการวิจัยพบว่า1. ผลการศึกษาระดับการทำงานเป็นทีมของครูในสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดเลย พบว่า ระดับพฤติกรรมเกี่ยวกับการทำงานเป็นทีม โดยรวมอยู่ในระดับมากค่าเฉลี่ย 4.03 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.31 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมากทุกข้อ เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 3 ลำดับแรก ได้แก่ ด้านการกำหนดเป้าหมาย อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.35 ด้านความไว้วางใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.23 ด้านการแสดงบทบาทผู้นำหรือผู้ตามที่เหมาะสม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.21 และด้านการมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี ในระดับน้อยที่สุด ค่าเฉลี่ย 3.672. ) ผลการเปรียบเทียบการทำงานเป็นทีมของครูในสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดเลย จำแนกตามตำแหน่งหน้าที่ พบว่า โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ การเปรียบเทียบตามวุฒิการศึกษา ก็พบว่า โดยรวมไม่แตกต่างกันเช่นกัน อย่างไรก็ตาม การเปรียบเทียบตามประสบการณ์ในการทำงาน พบว่าด้านการมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี ประสบการณ์ในการทำงานน้อยกว่า 5 ปี ระหว่าง 5 - 10 ปี และมากว่า 10 ปี แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยประสบการณ์ในการทำงานน้อยกว่า 5 ปี มีการทำงานเป็นทีมน้อยกว่าประสบการณ์ในการทำงานมากว่า 10 ปี 3. ผลการพัฒนาแนวทางการทำงานเป็นทีมของครูในสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดเลย ประกอบด้วย 8 องค์ประกอบ 24 แนวทาง 1) การกำหนดเป้าหมาย 3 แนวทาง 2) การแสดงบทบาทผู้นำหรือผู้ตามที่เหมาะสม 3 แนวทาง 3) การให้ความร่วมมือและมีส่วนร่วม 3 แนวทาง 4) การสื่อสารเชิงสร้างสรรค์และสัมพันธภาพที่ดีภายนอก 3 แนวทาง 5) การสร้างบรรยากาศที่ดีภายในทีม 3 แนวทาง 6) การกำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบ 3 แนวทาง 7) ความไว้วางใจ 3 แนวทาง และ 8) การมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี 3 แนวทาง |
URI: | http://localhost/jspui/handle/123456789/64 |
Appears in Collections: | FACULTY OF EDUCATION |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6620840432022.pdf | 4.53 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.