Please use this identifier to cite or link to this item: http://localhost/jspui/handle/123456789/45
Title: A STUDY ON INNOVATIVE LEADERSHIP OF SCHOOL ADMINISTRATORS   UNDER KHONKAEN PRIMARY EDUCATION SERVICE AREA OFFICE 5
การศึกษาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5
Authors: PHITSANUKORN WADEESIRISAK
พิษณุกร วะดีศิริศักดิ์
Kunnika Vaisopha
กรรณิกา ไวโสภา
Mahamakut Buddhist University
Kunnika Vaisopha
กรรณิกา ไวโสภา
kannika.va@mbu.ac.th
kannika.va@mbu.ac.th
Keywords: ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม
แนวทางการพัฒนา
Innovative leadership
Development approaches
Issue Date:  18
Publisher: Mahamakut Buddhist University
Abstract: This research serves a purpose. (1) Study the level of innovative leadership of executives Khon Kaen Primary Educational Service Area Office 5. (2) To compare the innovative leadership of executives of Khon Kaen Primary Educational Service Area Office 5, classified according to educational level, position and work experience. (3) To study the development of innovative leadership of executives of Khon Kaen Primary Educational Service Area Office 5. The sample group used in this research was 325 administrators and teachers in the Khon Kaen Primary Educational Service Area Office 5. The research instruments were a questionnaire with a reliability of 0.956 and a semi-structured interview. The statistics used in the research were descriptive statistics, inferential statistics for testing hypotheses, and content analysis.The research results found that:1. The level of innovative leadership of school administrators in the Khon Kaen Primary Educational Service Area Office 5 is at a high level overall. When considering each aspect, it was found that the aspect with the highest average value was having a vision for change, followed by teamwork and participation, risk management, creating an innovative organizational atmosphere, and the aspect with the lowest average value was having innovative creativity.2. Comparison of innovative leadership of school administrators according to the opinions of administrators and teachers Khon Kaen Primary Educational Service Area Office 5, classified by education level, position, and work experience, found that the classification by education level was not different overall. When considering each aspect, it was found that there was a statistically significant difference at the 0.05 level in the aspect of having vision and change. Classified by rank, it was not different overall. When considering each aspect, it was found that there was a statistically significant difference at the 0.05 level in the aspect of having vision and change and teamwork and participation. Classified by work experience, it was found that the overall and each aspect were statistically significant at the 0.01 level.3. Guidelines for developing innovative leadership of school administrators Khon Kaen Primary Educational Service Area Office 5 include: 1) Vision for change: School administrators should be leaders in technology, promote and support teachers and educational personnel in creating new innovations. 2) Teamwork and participation: School administrators should know how to reduce conflicts, be neutral, listen to opinions, and use a variety of problem-solving methods. 3) Creative innovation: School administrators should support and promote the use of technology and innovation, and encourage teachers and educational personnel to be creative in designing teaching and learning processes. 4) Creating an innovative organizational atmosphere: School administrators should promote, support, and create an environment conducive to being an innovative organization, and provide efficient equipment and internet networks. 5) Risk management: School administrators should know how to manage risks and have proactive plans to identify and assess risks that may occur both inside and outside the school.
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) ศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหาร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5 (2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหาร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5 จำแนกตาม ระดับการศึกษา ตำแหน่ง และประสบการณ์ทำงาน (3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหาร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5 โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารและครูผู้สอน จำนวน 325 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น แบบสอบถาม (Questionnaire) ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.956 และแบบสัมภาษณ์แบบ กึ่งโครงสร้าง (semi structured interview) สถิติที่ใช้ในการวิจัย สถิติเชิงบรรยาย สถิติเชิงอ้างอิงเพื่อทดสอบสมมติฐาน และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา (Content Analysis)  ผลการวิจัยพบว่า 1. ระดับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านการมีวิสัยทัศน์การเปลี่ยนแปลง รองลงมาคือ ด้านการทำงานเป็นทีมและมีส่วนร่วม  2. การเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครูผู้สอน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5 จำแนกตาม ระดับการศึกษา ตำแหน่ง และประสบการณ์ทำงาน พบว่า จำแนกตามระดับการศึกษา ในภาพรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในด้าน การมีวิสัยทัศน์และการเปลี่ยนแปลง  จำแนกตามตำแหน่ง ในภาพรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05    ในด้านการมีวิสัยทัศน์และการเปลี่ยนแปลง และด้านการทำงานเป็นทีมและมีส่วนร่วม จำแนกตามประสบการณ์ทำงาน พบว่าในภาพรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01  ด้านบริหารจัดการความเสี่ยง ด้านการสร้างบรรยากาศองค์กรแห่งนวัตกรรม และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการมีความคิดสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรม 3. แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาของแก่น เขต 5 ได้แก่ 1) ด้านวิสัยทัศน์การเปลี่ยนแปลง ผู้บริหารสถานศึกษาควรเป็นผู้นำด้านเทคโนโลยี ส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาสร้างนวัตกรรมใหม่  2) ด้านการทำงานเป็นทีมและมีส่วนร่วม ผู้บริหารสถานศึกษาควรรอบรู้วิธีลดความขัดแย้ง ทำตัวเป็นกลาง รับฟังความคิดเห็น และใช้วิธีแก้ปัญหาที่หลากหลาย 3) ด้านการมีความคิดสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรม ผู้บริหารสถานศึกษาควรสนับสนุนและส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม กระตุ้นให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ กระบวนการเรียนการสอน 4) ด้านการสร้างบรรยากาศองค์กรแห่งนวัตกรรม ผู้บริหารสถานศึกษาควรส่งเสริม สนับสนุน และสร้างสภาพแวดล้อมที้เอื้อต่อการเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรม และจัดหาอุปกรณ์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่มีประสิทธิภาพ และ 5) ด้านการบริหารจัดการควาเสี่ยง ผู้บริหารสถานศึกษา ควรต้องรู้จักการบริหารความเสี่ยง มีการวางแผนเชิงรุกเพื่อระบุและประเมินความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา
URI: http://localhost/jspui/handle/123456789/45
Appears in Collections:FACULTY OF EDUCATION

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6620840432016.pdf5.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.