Please use this identifier to cite or link to this item: http://localhost/jspui/handle/123456789/36
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKANTIMA PROMMAWANNAen
dc.contributorกัณทิมา พรมมาวันนาth
dc.contributor.advisorPim-on Sod-iumen
dc.contributor.advisorพิมพ์อร สดเอี่ยมth
dc.contributor.otherMahamakut Buddhist Universityen
dc.date.accessioned2025-04-18T07:15:39Z-
dc.date.available2025-04-18T07:15:39Z-
dc.date.created2025-
dc.date.issued3/4/2025-
dc.identifier.urihttp://localhost/jspui/handle/123456789/36-
dc.description.abstractThe objectives of this research were : 1) to study the level of digital leadership of school administrators under the Loei Primary Educational Service Area Office 1,  2) to study the effectiveness of academic affairs administration in school, 3)to study the relationship between Digital leadership of school administrators and the effectiveness of academic affairs administration in school, and 4)to study Digital leadership of school administrators affecting the effectiveness of academic affairs administration in school under the Loei Primary Educational Service Area Office 1. The sample used in this research was a group of 301. The statistics used for analysis data were mean, standard deviation, Pearson’s product moment correlation coefficient and multiple regression analysis using the Stepwise method.             The results of the study were as follows: 1) Digital Leadership of school administrators under the Loei Primary Educational Service Area Office 1 was high level. 2) the effectiveness of academic affairs administration in school under the Loei Primary Educational Service Area Office 1 the high level. 3) the relationship between Digital leadership of school administrators and the effectiveness of academic affairs administration in school under Loei Primary Educational Service Area Office 1 correlated positively high level of .01 of statistical significance and  a correlation coefficient of 0.712. and 4) the regression analysis Digital leadership  of school administrators and the effectiveness of academic affairs administration in school under Loei Primary Educational Service Area Office 1, the vision of digital leaders (x1), the digital professional (x3), the digital literacy (x4), and the digital culture(x2).can explain the variance, with statistically significant relationships at the .01 level in Digital leadership of school administrators affecting the effectiveness of academic affairs administration in school under the Loei Primary Educational Service Area Office 1. The multiple correlation coefficient is 0. 853.which collectively explains 72.70% of the variance. The relationship can be expressed in the form of a prediction equation, with a standard error of prediction of ±0. 18945.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1) เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1 2) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา และ 4) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูจำนวน 301 คน เครื่องมือวิจัยเป็น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ โดยใช้วิธี Stepwise             ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำเชิงดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2) ประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก 3) ภาวะผู้นำเชิงดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา โดยรวมมีความสัมพันธ์เชิงบวก ในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ 0.712 และ 4) ภาวะผู้นำเชิงดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา ได้แก่ การมีวิสัยทัศน์ดิจิทัล (x1) ความเป็นมืออาชีพดิจิทัล (x3) การมีทักษะและความรู้ดิจิทัล (x4) และการสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ดิจิทัล (x2) ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.853 ร่วมกันอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 72.70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการพยากรณ์ ±0.18945th
dc.language.isoth-
dc.publisherMahamakut Buddhist University-
dc.rightsMahamakut Buddhist University-
dc.subjectภาวะเชิงดิจิทัลของผู้บริหารth
dc.subjectผู้บริหารสถานศึกษาth
dc.subjectประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการth
dc.subjectDigital Leadership of School Administratorsen
dc.subjectSchool Administratorsen
dc.subjectEffectiveness of Academic Administration in Schoolen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationTraining for pre-school teachersen
dc.titleDIGITAL LEADERSHIP OF SCHOOL ADMINISTRATORS AFFECTING EFFECTIVENESS OF ACADEMIC AFFAIRS ADMINISTRATION IN SCHOOL UNDER LOEI PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 1en
dc.titleภาวะผู้นำเชิงดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหาร งานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorPim-on Sod-iumen
dc.contributor.coadvisorพิมพ์อร สดเอี่ยมth
dc.contributor.emailadvisorpimon.sod@mbu.ac.th-
dc.contributor.emailcoadvisorpimon.sod@mbu.ac.th-
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed. (Education Administration))en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม.(การบริหารการศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administrationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:FACULTY OF EDUCATION

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6620840432005.pdf3.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.