Please use this identifier to cite or link to this item: http://localhost/jspui/handle/123456789/66
Title: EFFECTIVENESS OF POLITICAL COMMUNICATION TOWARDS DECISION-MAKING OF UNDERGRADUATE STUDENTS IN LOEI PROVINCE TO VOTE FOR MEMBERS OF PALIAMENT (MPs)
ประสิทธิผลการสื่อสารทางการเมืองต่อการตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในจังหวัดเลย
Authors: Hartairat Lomphukhiaw
หทัยรัตน์ หล่มภูเขียว
WEERANUCH PROMJAK
วีรนุช พรมจักร์
Mahamakut Buddhist University
WEERANUCH PROMJAK
วีรนุช พรมจักร์
weeranuch.pr@mbu.ac.th
weeranuch.pr@mbu.ac.th
Keywords: ประสิทธิผล
การสื่อสารทางการเมือง
การตัดสินใจ
การลงคะแนน
Effectiveness
Political Communication
Decision-making
Voting
Issue Date:  17
Publisher: Mahamakut Buddhist University
Abstract: The objectives of the research were 1) to study the political communication effectiveness influencing undergraduate students’ decision-making to vote for the Members of Parliament (MPs), to study the political communicative factors effective to the students’ decision-making for MPs election, and to offer the model of effective political communication development for MPs in Loei province. The research was conducted through the mixed method research (MMR); quantitative and qualitative approaches. The sample group was a total of 374 undergraduate students from Loei Rajabhat University, Mahamakut Buddhist University, Srilanchang Campus, and Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Loei Religious Collage, selected by Taro Yamane’s size formula, the stratified random sampling and simple random sampling. The research instruments comprised of the five-point rating scale questionnaire, the in-depth interview and the model assessment. The statistics used for data analysis consisted of percentage, mean, standard deviation, Pearson Product Moment Correlation, and Stepwise multiple regression analysis.              The research findings were as follows:              1. The effectiveness of political communication influencing the students’ decision-making for the MPs election was found to be totally and separately at a high level.              2. The political communicative factors effective to the undergraduate students’ decision-making for the MPs election were found to be overall at a high level. Separately considered, each was found to be at a high level. Those factors and the undergraduate students’ election decision-making were correlated to each other at a statistical significance of .01. The best five predictive variables; politic communicative factors (X), Frequency and Duration (X7), Source/Sender (X1), Context (X6), and Communication Strategy (X8), were effective to the students’ decision-making for the MPs election at the statistical significance of .05 with the forecasting power of 34.9.              3. The model of effective political communication development for MPs in Loei province, designed by the system approach, comprised of the input, the process, the product, and the feedback. The assessment of the model’s propriety, feasibility, congruity and utility was found to be totally and separately at a high level.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการสื่อสารทางการเมืองต่อการตัดสินใจเลือกสมาชิก สภาผู้แทนของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในจังหวัดเลย ศึกษาปัจจัยด้านการสื่อสารทางการเมืองที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในจังหวัดเลย และเสนอรูปแบบการพัฒนาการสื่อสารทางการเมืองที่มีประสิทธิผลของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในจังหวัดเลย ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสานวิธีระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย และมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย จำนวน 374 คน สุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างของทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane, 1973) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามและการสัมภาษณ์เชิงลึก สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน              ผลการวิจัยพบว่า              1. ประสิทธิผลการสื่อสารทางการเมืองต่อการตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในจังหวัดเลย โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (=4.11, S.D. = 0.67) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน             2. ปัจจัยด้านการสื่อสารทางการเมืองที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในจังหวัดเลย โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (= 4.25, S.D. = 0.22) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน ปัจจัยด้านการสื่อสารทางการเมืองและการตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของนักศึกษามีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ตัวแปรพยากรณ์ที่ดีที่สุด 5 ตัวแปร คือ ปัจจัยด้านการสื่อสารทางการเมือง (X) ด้านความถี่และระยะเวลา (X7) ด้านผู้ส่งสาร (X1) ด้านบริบทแวดล้อม (X6) และด้านกลยุทธ์การสื่อสาร (X8) ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในจังหวัดเลย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มีอำนาจในการพยากรณ์ร้อยละ 34.9             3. รูปแบบการพัฒนาการสื่อสารทางการเมืองที่มีประสิทธิผลของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในจังหวัดเลย มีลักษณะเป็นรูปแบบเชิงระบบ ประกอบด้วย ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ผลผลิต และข้อมูลสะท้อนกลับ และมีผลการประเมินรูปแบบด้านความเหมาะสม ความเป็นไปได้  ความสอดคล้อง และความเป็นประโยชน์ โดยรวมและรายด้านอยู่ที่ระดับมากทุกด้าน
URI: http://localhost/jspui/handle/123456789/66
Appears in Collections:FACULTY OF SOCIAL SCIENCES

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6520831032010.pdf5.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.