Please use this identifier to cite or link to this item: http://localhost/jspui/handle/123456789/43
Title: AN ANALYTICAL STUDY OF GOOD MANAGEMENT BASED ON THERAVADA BUDDHIST PHILOSOPHY
การศึกษาวิเคราะห์การบริหารที่ดีตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท
Authors: Pongsathon Seesura
พงศธร สีสุระ
Phrarajsuddhivajiramedhi, Asst. Prof. Dr.
พระราชสุทธิวชิรเมธี, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.
Mahamakut Buddhist University
Phrarajsuddhivajiramedhi, Asst. Prof. Dr.
พระราชสุทธิวชิรเมธี, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.
chaiyan.sueb@mbu.ac.th
chaiyan.sueb@mbu.ac.th
Keywords: การบริหารที่ดี
พุทธปรัชญาเถรวาท
Good management
Theravada Buddhist philosophy
Issue Date:  28
Publisher: Mahamakut Buddhist University
Abstract: The research aims to 1. Study the concept and theory of good administration 2. Study the principles of Theravada Buddhist philosophy related to good administration 3. Analyze the administration according to the principles of Theravada Buddhist philosophy related to good administration. This is a qualitative research, analyzing the content from academic documents on the concept and theory of good administration. The research results found that: The concept of good administration requires a good and capable leader. The leader must develop himself to be good and capable, up-to-date, diligent, seek new knowledge and skills, be far-sighted, have a broad vision, accept change, and be a change leader. The principles of Theravada Buddhist philosophy related to good administration start with Papanikadhamma, the first Papanikadhamma, which concerns paying attention to business and work, studying and learning the environment, understanding strengths, weaknesses, opportunities, and obstacles or threats, which are normal things in the world according to the law of the three characteristics, eager to find new knowledge, followed by the second Papanikadhamma, which concerns management skills. Analyze the administration and sustainable growth must integrate the worldly and spiritual aspects, which executives or leaders must study, learn, understand thoroughly, and then put into practice, such as the first Papanikadhamma. That traders must be diligent and persistent in their work in the morning, afternoon, and evening (understand the market, understand the business) and use the principles of the second law, both Chakkhumā, Nissayasampanno, and Vidhūro, to help support, which will make the organization progress and grow sustainably.
การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีการบริหารที่ดี 2. ศึกษาหลักพุทธปรัชญาเถรวาทที่เกี่ยวกับการบริหารที่ดี 3. วิเคราะห์การบริหารตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาทที่เกี่ยวกับการบริหารที่ดี เป็นวิจัยเชิงคุณภาพ วิเคราะห์เนื้อหาจากเอกสารทางวิชาการเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีการบริหารที่ดี ผลวิจัยพบว่า : แนวคิด การบริหารที่ดี ได้ดีต้องอาศัยผู้นำที่เก่งและดี ผู้นำจะต้องพัฒนาตัวเองให้เก่งและดี ทันยุคทันสมัย ขยันหมั่นเพียร แสวงหาความรู้และทักษะใหม่ ๆ  มองกาลไกล  มีวิสัยทัศน์ที่กว้างขวาง ยอมรับในการเปลี่ยนแปลง เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง หลักพุทธปรัชญาเถรวาทที่เกี่ยวกับการบริหารที่ดี เริ่มต้นจากปาปณิกธรรม ปฐมปาปณิกธรรม ที่ว่าด้วยการใส่ใจในธุรกิจการงาน ศึกษาเรียนรู้สภาพแวดล้อม เข้าใจจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค หรือภัยคุกคาม ซึ่งเป็นสิ่งธรรมดาที่มีอยู่ในโลกตามกฎของไตรลักษณ์ ขวัญขวายหาความรู้ใหม่ แล้วตามด้วย ทุติยปาปณิกธรรม ที่ว่าด้วยทักษะในการบริหารจัดการ วิเคราะห์การบริหารแล้วการเติบโตอย่างยั่งยืน จะต้องผสมผสานบูรณาการทางโลกและทางธรรม ซึ่งผู้บริหารหรือผู้นำ ต้องศึกษาเรียนรู้ทำความเข้าใจให้ถ่องแท้แล้วนำไปปฏิบัติ อย่างปฐมปาปณิกธรรม ที่พ่อค้าต้องตั้งใจขยันหมั่นเพียรในกิจการงานของตนทั้งเช้า สาย บ่าย เย็น (เข้าใจตลาด เข้าใจธุรกิจ) และใช้แนวทางของทุติยปาปณิกธรรม ทั้ง จักขุมา นิสสยสัมปันโน และวิธูโร เข้ามาช่วยเกื้อกูล ซึ่งจะทำให้องค์การเจริญก้าวหน้า และเติบโตได้อย่างยั่งยืน
URI: http://localhost/jspui/handle/123456789/43
Appears in Collections:GRADUATE SCHOOL

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6520150232007.pdf2.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.