Please use this identifier to cite or link to this item: http://localhost/jspui/handle/123456789/37
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKWANTIDA PAWAPOOTANONen
dc.contributorขวัญธิดา ภวภูตานนท์th
dc.contributor.advisorPhrakrupalad Jakkapol Siritharoen
dc.contributor.advisorพระครูปลัดจักรพล สิริธโรth
dc.contributor.otherMahamakut Buddhist Universityen
dc.date.accessioned2025-04-18T07:15:40Z-
dc.date.available2025-04-18T07:15:40Z-
dc.date.created2025-
dc.date.issued2/4/2025-
dc.identifier.urihttp://localhost/jspui/handle/123456789/37-
dc.description.abstractสารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1 เพื่อศึกษาระดับทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 จำแนกตามสถานภาพการดำรงตำแหน่ง ประสบการณ์ทำงาน และขนาดของโรงเรียน 3. เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2ประชากร ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารและครูผู้สอน สังกัด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 ปีการศึกษา 2567 จำแนกเป็นผู้บริหาร จำนวน 217 คน และครูผู้สอน จำนวน 1,173 คน จำนวนทั้งหมด 1,390 คนกลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหาร และครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 จำนวน 302 คน ได้มาโดยกำหนดขนาดตัวอย่างตามตารางของเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie & Morgan, 1970, pp. 607–610, อ้างถึงในบุญชม ศรีสะอาด, 2556, หน้า 43) โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) กำหนดขนาดสถานศึกษาเป็นชั้น จำแนกเป็นผู้บริหาร จำนวน 47 คน และครูผู้สอน จำนวน 255 คนผลการวิจัยพบว่า1. ผลการศึกษาระดับทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านที่ 5 ด้านการสร้างเครือข่ายเพื่อสร้างสรรค์ รองลงมาคือ ด้านที่3 ด้านการตั้งคำถามอย่างสร้างสรรค์ ด้านที่ 4 ด้านการปรับปรุงเพื่อพัฒนาสิ่งใหม่ ด้านที่ 2 ด้านการเชื่อมโยงความรู้เพื่อสร้างความรู้ใหม่ ตามลำดับ และด้านที่ต่ำสุดคือ ด้านที่ 1 ด้านการกล้าคิดกล้าทำด้วยจินตนาการ2. ผลการเปรียบเทียบทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 จำแนกตามสถานภาพการดำรงตำแหน่ง ประสบการณ์และขนาดโรงเรียนโดยรวมและรายด้านแตกต่างกัน สอดคล้องกับสมมติฐาน ของการวิจัยที่ตั้งไว้อย่างมีนัยสำคัญที่ 0.053. แนวทางการพัฒนาทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2 ต้องอาศัยแนวทางที่หลากหลายและต่อเนื่อง ตั้งแต่การส่งเสริมความกล้าคิดกล้าทำ การบูรณาการความรู้ การตั้งคำถามอย่างสร้างสรรค์ การพัฒนาวิธีการสอน และการสร้างเครือข่ายทางการศึกษา หากสามารถดำเนินการตามแนวทางเหล่านี้ได้อย่างเป็นระบบ จะช่วยให้ครูสามารถพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ และส่งผลต่อการยกระดับคุณภาพการศึกษาในอนาคตth
dc.language.isoth-
dc.publisherMahamakut Buddhist University-
dc.rightsMahamakut Buddhist University-
dc.subjectทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมth
dc.subjectผู้บริหารth
dc.subjectครูth
dc.subjectสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลยเขต2th
dc.subjectแนวทางการพัฒนาth
dc.subjectInnovative Thinking Skillsen
dc.subjectAdministratorsen
dc.subjectOffice of Loei Primary Educational Service Area 2en
dc.subjectDevelopment guidelinesen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleGUIDELINES FOR DEVELOPING INNOVATIVE THINKING SKILLS OF TEACHERS LOEI PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 2en
dc.titleแนวทางการพัฒนาทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของครู  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2th
dc.typeIndependent studyen
dc.typeสารนิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorPhrakrupalad Jakkapol Siritharoen
dc.contributor.coadvisorพระครูปลัดจักรพล สิริธโรth
dc.contributor.emailadvisormahajakkapol.pon@mbu.ac.th-
dc.contributor.emailcoadvisormahajakkapol.pon@mbu.ac.th-
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed. (Education Administration))en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม.(การบริหารการศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administrationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:FACULTY OF EDUCATION

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6620840432006.pdf2.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.