Please use this identifier to cite or link to this item:
http://localhost/jspui/handle/123456789/33
Title: | THE CAUSAL RELATIONSHIP MODEL OF ADAPTIVE LEADERSHIP OF ADMINISTRATORS AFFECTING THE PROFESSIONAL LEARNING COMMUNITY IN SCHOOLS UNDER LOEI PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยนของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย |
Authors: | JINTANA SINGPA จินตนา สิงห์ภา Kunnika Vaisopha กรรณิกา ไวโสภา Mahamakut Buddhist University Kunnika Vaisopha กรรณิกา ไวโสภา kannika.va@mbu.ac.th kannika.va@mbu.ac.th |
Keywords: | ภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยน ผู้บริหารสถานศึกษา ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียน adaptive leadership School Administrators professional learning community in school |
Issue Date: | 3 |
Publisher: | Mahamakut Buddhist University |
Abstract: | The objectives of this research were to: 1) study the lever adaptive leadership and the level of professional learning community in schools, 2) To validate a goodness of fit of the causal relationship model of adaptive leadership affecting professional learning community in schools that this research developed from the theory with empirical data, 3) Study the influences of adaptive leadership affecting the professional learning community in schools. The samples consisted of 55 administrators, 595 teachers, a total of 620 samples. Using stratified sampling. The research instrument was a five-point rating scale questionnaire. The reliability coefficient of adaptive leadership variable obtaining a reliability coefficient of 0.980 and professional learning community in schools was 0.983. The statistics used in data analysis include frequency, percentage, mean, standard deviation, The Pearson correlation coefficient, and statistic of the structural equation model (SEM) by using Jamovi. The research results were; 1. All aspect and each aspect of level of adaptive leadership of school administrators were at the high level. and each aspect of level of professional learning community in schools were at the high level. 2. The causal relationship model of adaptive leadership affecting professional learning community in schools that this research developed from the theory with empirical data was fitted as practical statistic values ; χ2 = 41.351,df = 29, χ2/df = 1.426, P – value = 0.064, RMSEA = 0.026, SRMR = 0.011, CFI = 0.997, TLI = 0.996 3. The influence of adaptive leadership affecting the professional learning community in schools found that there were the total influence and direct positive influence of innovative leadership was 0.7281, at the 0.01 level of significant. The variable of the adaptive leadership in model can be described the variability of professional learning community in schools was 61.1 percent. การวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยนของผู้บริหารสถานศึกษาและระดับชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียน 2) เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยนของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียนที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจากทฤษฎีกับข้อมูลเชิงประจักษ์และ 3) เพื่อตรวจสอบความกลมกลืนของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยนของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา 55 คน ครูสอน 565 คน รวม 620 คน โดยใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นของภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยนเท่ากับ 0.980 และชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียนเท่ากับ 0.983 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง (SEM) โดยใช้โปรแกรม JAMOVI ผลการวิจัยพบว่า1. ภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยนของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก2. ผลการตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยนของผู้บริหารสถานศึกษากับชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ χ2 = 41.351, df = 29, χ2/df = 1.426, P – value = 0.064, RMSEA = 0.026, SRMR = 0.011, CFI = 0.997, และ TLI = 0.9963. อิทธิพลภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยนของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียน พบว่า ภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยนของผู้บริหารสถานศึกษามีอิทธิพลทางตรงและอิทธิพลรวมเชิงบวกเท่ากับ 0.782 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยตัวแปรภาวะผู้นำแบบปรับเปลี่ยนของผู้บริหารสถานศึกษาในโมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนของชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในสถานศึกษาได้ร้อยละ 61.1 |
URI: | http://localhost/jspui/handle/123456789/33 |
Appears in Collections: | FACULTY OF EDUCATION |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6620840432002.pdf | 4.24 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.